top of page

2 5 5 8

นักวิจัยสตรีที่ได้รับทุนวิจัย ลอรีอัล ประเทศไทย
เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ปีที่ 13

2015_FWIS Fellows_02.jpg

จากซ้ายไปขวา

รศ.ดร. ดรุณี สู้รักรัมย์
(Assoc. Prof. Darunee Soorukram, Ph.D.)

 

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ 

มหาวิทยาลัยมหิดล

PHYSICAL

SCIENCE

การสังเคราะห์สารประเภทเซโคลิก

แบบที่สกัดได้จากสมุนไพรไทยที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ

รศ.ดร. ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ
(Assoc. Prof. Sirilux Poompradub, Ph.D.)

 

ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

PHYSICAL

SCIENCE

กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงสมบัติของผลิตภัณฑ์

ยางธรรมชาติ ให้สามารถตอบสนองต่อการใช้งาน

ในภาคอุตสาหกรรมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

รศ.ดร. วัชรินทร์ ลอยลม
(Assoc. Prof. Watcharin Loilome, Ph.D.)
 

ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

LIFE

SCIENCE

แบบแผนเปบทีโดมิกส์ในซีรั่มและปัสสาวะของผู้ที่มีภาวะ

Advance periductal fibrosis ในแหล่งระบาดของ

โรคพยาธิใบไม้ตับเพื่อใช้เป็นตัวตรวจชีวภาพ

ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งในท่อน้ำดี

ศ.ดร. เบญจมาศ เชียรศิลป์
(Prof. Benjamas Cheirsilp, Ph.D.)
 

คณะอุตสาหกรรมเกษตร 

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

LIFE

SCIENCE

การคัดแยกและคัดเลือกเชื้อราไขมันสูง เพื่อประยุกต์

ใช้ในการเปลี่ยนวัสดุเศษเหลือลิกโนเซลลูโลส

โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มให้เป็นน้ำมันสำหรับผลิต

ไบโอดีเซล

ดร. ศิวพร มีจู สมิธ
(Siwaporn Meejoo Smith, Ph.D.)


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

PHYSICAL

SCIENCE

การพัฒนาวิธีควบคุมโครงสร้างเฉพาะของวัสดุ

เพื่อประยุกต์ในด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อการป้องกัน บำบัด

และกำจัดมลพิษทางน้ำและทางอากาศ โดยมุ่งเน้นวิธี

ที่ประหยัดพลังงาน ลดจำนวนหรือปริมาณสารเคมีตั้งต้น

และการใช้เทคโนโลยีสะอาด เพื่อวัตถุประสงค์ในการ

ป้องกันหรือลดปัญหาด้านการจัดการของเสีย ทั้งนี้ใช้ได้

ทั้งสารตั้งต้น และตัวทำละลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ลดขั้นตอนการสังเคราะห์ เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมด้าน

การสังเคราะห์วัสดุที่มีคุณสมบัติเฉพาะเหมาะกับการ

ประยุกต์ใช้ด้านสิ่งแวดล้อม

ผศ.ดร. ภัทรพร คิม
(Asst. Prof. Pattaraporn Kim, Ph.D.)
 

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

PHYSICAL

SCIENCE

ระบบผลิตไฮโดรเจนและก๊าซธรรมชาติสังเคราะห์จาก

ไอน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยวิธีอิเล็คไตรไลซิสและ

แยกไฮโดรเจนบริสุทธิ์ด้วยเซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง

bottom of page